บันทึกประจำสัปดาห์
นางสาวกมลทิพย์ หมื่นเดช รหัสนักศึกษา 5511202094 เลขที่ 7
วิชา EAED3214 การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน พฤหัสบดี ที่ 5 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558
ความรู้ที่ได้รับ
กิจกรรมที่1
- วันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรมวาดภาพเหมือนตามที่อาจารย์กำหนดมาให้ แล้วให้เขียนอธิบายใต้ภาพว่ารูปที่นักศึกษาวาดมานั้นสื่อถึงอะไร เห็นอะไรในภาพบ้าง
รูปตัวอย่างและรูปที่วาด
กิจกรรมที่2
- เข้าสู่บทเรียน เรื่อง บทบาทครุปฐมวัยในห้องเรียนรวม
ครูไม่ควรวินิจฉัย การวินิจฉัย หมายถึง การตัดสินใจโดยการดูจากอาการหรือสัญญาณบางอย่าง เพราะอาการที่แสดงออกมานั้นอาจเกิดจากความเข้าใจผิดได้
* ครูไม่ควรไปบอกใครว่าเด็กเป็นโรคหรือมีอาการต่างๆ คูควรเก็บไว้คนเดียวเพราะไม่รู้ว่าอาการหรือโรคนั้นที่ครูสันนิษฐานหรือเดาขึ้นนั้นจะเป็นจริงหรือไม่
ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก เพราพจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวของเด็กตลอดไปและเด็กจะกลายเป็นเช่นนั้นจริงๆ
ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ เพราะ พ่อแม่ ผุ้ปกครองทคุกคนทราบดีอยู่แล้วว่าลูกของเขามีปัญหาถ้าครูบอกจะเหมือนเป็นการตอกย้ำ ครูควรจะพูดในด้านบวกแต่ต้องไม่พูดเวอร์เกินจริง ครูควรรายงานพ่อแม่ว่าเด็กทำอะไรได้บ้าง และครูช่วยให้พ่อแม่มีความหวังและแนวทางในการพัฒนาเด็ก
* ครูควรชมก่อน บอกสิ่งที่น้้องทำได้แล้วค่อยแทรกสิ่งที่ทำไม่ได้ตามหลัง
ครูทำอะไรบ้าง คอยสังเกตเด็กอย่างมีระบบ พร้อมจดบันทึกพฤติกรรมของเด็กเป็นช่วงๆ
* จำกัดขอบเขตในการสังเกต
สังเกตอย่างมีระบบ
ไม่มีใครสามารๅถสังเกตได้ดีเท่าครู เพราะครูเห็นเด็กในสถานการณ์ต่างๆ หรือทั้งวัน ต่างจากพวกนักจิตวิทยา นักคลินิก พวกนี้จะสนใจอยู่แค่ที่ปัญหาของเด็ก
กิจกรรมที่ 3 ร้องเพลง
การนำไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำความรู้เรื่องบทบาทของครูในห้องเรียนรวมว่ามีบทบาทอย่างไรที่ควรทำและไม่ควรทำบ้าง จะได้นำไปใช้ในการเป็นครูที่มีประสิทภาพ
- สามารถนำเพลงที่ฝึกร้องไปใช้ในการสอนเด็กได้ เพราะเพลงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็กปฐมวัยอย่างหนึ่งเลย
ประเมินผล
ตนเอง แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรม
เพื่อน แต่งายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมในห้องเป็นอย่างดี
อาจารย์ สอนสนุก ดึงดูดคดวามสนใจให้นักศึกษาสนใจเรียนและทำกิจกรรมตลอดเวลา
ครูไม่ควรวินิจฉัย การวินิจฉัย หมายถึง การตัดสินใจโดยการดูจากอาการหรือสัญญาณบางอย่าง เพราะอาการที่แสดงออกมานั้นอาจเกิดจากความเข้าใจผิดได้
* ครูไม่ควรไปบอกใครว่าเด็กเป็นโรคหรือมีอาการต่างๆ คูควรเก็บไว้คนเดียวเพราะไม่รู้ว่าอาการหรือโรคนั้นที่ครูสันนิษฐานหรือเดาขึ้นนั้นจะเป็นจริงหรือไม่
ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก เพราพจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวของเด็กตลอดไปและเด็กจะกลายเป็นเช่นนั้นจริงๆ
ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ เพราะ พ่อแม่ ผุ้ปกครองทคุกคนทราบดีอยู่แล้วว่าลูกของเขามีปัญหาถ้าครูบอกจะเหมือนเป็นการตอกย้ำ ครูควรจะพูดในด้านบวกแต่ต้องไม่พูดเวอร์เกินจริง ครูควรรายงานพ่อแม่ว่าเด็กทำอะไรได้บ้าง และครูช่วยให้พ่อแม่มีความหวังและแนวทางในการพัฒนาเด็ก
* ครูควรชมก่อน บอกสิ่งที่น้้องทำได้แล้วค่อยแทรกสิ่งที่ทำไม่ได้ตามหลัง
ครูทำอะไรบ้าง คอยสังเกตเด็กอย่างมีระบบ พร้อมจดบันทึกพฤติกรรมของเด็กเป็นช่วงๆ
* จำกัดขอบเขตในการสังเกต
สังเกตอย่างมีระบบ
ไม่มีใครสามารๅถสังเกตได้ดีเท่าครู เพราะครูเห็นเด็กในสถานการณ์ต่างๆ หรือทั้งวัน ต่างจากพวกนักจิตวิทยา นักคลินิก พวกนี้จะสนใจอยู่แค่ที่ปัญหาของเด็ก
กิจกรรมที่ 3 ร้องเพลง
การนำไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำความรู้เรื่องบทบาทของครูในห้องเรียนรวมว่ามีบทบาทอย่างไรที่ควรทำและไม่ควรทำบ้าง จะได้นำไปใช้ในการเป็นครูที่มีประสิทภาพ
- สามารถนำเพลงที่ฝึกร้องไปใช้ในการสอนเด็กได้ เพราะเพลงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็กปฐมวัยอย่างหนึ่งเลย
ประเมินผล
ตนเอง แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรม
เพื่อน แต่งายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมในห้องเป็นอย่างดี
อาจารย์ สอนสนุก ดึงดูดคดวามสนใจให้นักศึกษาสนใจเรียนและทำกิจกรรมตลอดเวลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น